พระราโชวาทของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ที่ไต้ พระราชทานให้แก,ลูกเสือและเนตรนารี ในพิธีปฏิญาณตน และสวนสนาม เนื่องในงานวันคล้านวัน
สถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ณ สนามศุภชลาศัย สนามกีฬาแห่งชาติ เมื่อวันอังคารที่ 1
กรกฎาคม 2529 (คณะลูกเสือแห่งชาติ 2529, หน้า 9) ไว้ว่า
กิจการลูกเสือเป็นขบวนการพัฒนาคุณลักษณะทุกๆ ต้านของเยาวชน
ให้เติบโตเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของชาติบ้านเมือง ผู้ที่อยู่ในคณะลูกเสือ
ต่างยึดมั่นคำปฏิญาณและระเบียบปฏิบัติที่เสมอเหมือนกันในอันที่จะสร้างเสริมความรู้
ความสามารถ คุณธรรม และจริยธรรม ในตนเองในหมู,คณะให้บริบูรณ์ขึ้นด้วยการกระทำจริง
ปฏิบัติจริง
ทำให้ลูกเสือและเนตรนารีที่ไต้ผ่านการปีกอบรมครบถ้วนตามหลักการและวิธีการของ
ลูกเสือแล้ว
เป็นผู้เข้มแข็งและสามารถมาก
ในการบำเพ็ญประโยชน์ช่วยเหลืองานที่สำคัญต่างๆของบ้านเมือง และส่วนรวม
จนไต้รับความนิยมเชื่อลืออย่างกว้างขวาง
กิจการลูกเสือจึงเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ควรจะเริ่มต้นตั้งแต่วัยเด็กเพราะเด็กไทย เป็นสมบัติอันสำคัญยิ่งของชาติ
ควรจะนำเอาขบวนการของลูกเสือมาพัฒนาเด็กและเยาวชนที่อยู่ใน
วัยเรียนช่วงอายุ8-23ปีให้เป็นคนดีมีระเบียบวินัยรู้จักเสียสละมีความสามัคคีจงรักภักดีต่อชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตริย์รู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ตามกฎและคำปฏิญาณ
ของลูกเสือ การนำเอากระบวนการของลูกเสือเข้าไปในโรงเรียนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อการ
จัดกิจกรรม เพราะการจัดกิจกรรมต่างๆ คือ
สิ่งที่จะช่วยให้การพัฒนานักเรียนไปทุกๆต้านพร้อมๆ กัน ดังทรรศนะของ ยงยุทธ
วัชรดุลย์ (2529, หน้า 65) ไต้กล่าวว่ากิจกรรมลูกเสือจึงเป็นแนวทาง สำคัญที่จะช่วยให้อุดมการณ์ของชาติสำเร็จไต้
เพราะกิจกรรมลูกเสือได้ฝึกหัดอบรมสร้างค่านิยมที่ ลูกต้องให้แก,เยาวชนของชาติที่สมัครใจเป็นลูกเสือในแนวทางเดียวกัน
สมชัย วุฑฒิปรีชา (2539, หน้า 43) ได้แสดงทัศนะไว้ว่า
ในปีจจุบันมีกิจกรรมการเรียนการสอนหลายหลากวิธี แต่ก็ยัง ไม่มีกิจกรรมใดที่จะสามารถสร้างเสริมคุณธรรมหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนไทยได้ดี
และ รวดเร็วเท่ากิจกรรมลูกเสือ นอกจากนี้สมชัย วุฑฒิปรีชา (2533, หน้า 58)
ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับ การลูกเสือไว้อีกว่า
กระบวนการลูกเสือเป็นวิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเป็นอย่างยิ่งใน
การปลูกฝงและแกฝนให้เยาวชนของชาติมีคุณภาพ
เพื่อเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติสืบไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น