วันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

เเนวทางการปฏิบัติตัวในการเป็นลูกเสือ

ลูกเสือจะต้องเข้าใจและปฏิบัติตามคำปฏิญาณและกฎของลูกเสืออยู่อย่างสมํ่าเสมอจนติดเป็นนิสัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ความเป็นพี่น้องกับลูกเสืออื่นทั่วโลก และการกระทำความดีต่างๆ ผู้พี่จะเป็นพลเมืองดีนั้นจะต้องเป็นผู้กระทำความดี มิใช่เป็นคนดีโดยอยู่เฉยๆ ไม่ทำอะไร ผู้กำกับลูกเสือควรหมั่นแกอบรมให้ ลูกเสือเข้าใจและปฏิบัติตามคำปฏิญาณ และกฎของลูกเสือ และควรประพฤติเป็นตัวอย่างให้ด้วย ในส่วนของคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ก็ได้ระบุถึงการบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่นซึ่ง ถือว่าสำคัญมาก แหล่งที่ลูกเสือสามารถจะบำเพ็ญประโยชน์ได้นั้น ควรเริ่มจากสิ่งที่ใกล้ตัวแล้ว ขยายให้กว้างออกไปตามวินัยและความสามารถของลูกเสือ คือ บำเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชนที่ใกล้โรงเรียน งานสาธารณะ งานส่วนรวม และประเทศชาติ

ทั้งนี้ในแนวทางการแกอบรมลูกเสือแต่ละประเภท จึงควรมีการแกอบรมที่ต่อเนื่องกัน และสูงขึ้นจึงควรเริ่มตั้งแต่ลูกเสือสำรอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จนถึงลูกเสือวิสามัญ โดยมีแนวการแกอบรม เพื่อเป็นการพัฒนาลูกเสือ ส่งเสริมความเจริญเติบโตส่วนบุคคลโดยการ ลูกเสือมั่นเอง

สำหรับความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือแต่ละประเภทนั้น นับเป็นสิ่งสำคัญที่กองลูกเสือ จะต้องพิจารณาถึง สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ (2533, หน้า 18) โดยบทบัญญัติ แห่งพระราชบัญญัติลูกเสือ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2528 ระบุไว้ว่า ลูกเสือในคณะลูกเสือแห่งชาติมี 4 ประเภท ได้แก่ ลูกเสือสำรอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และลูกเสือวิสามัญ แด่ละประเภท มี 3 เหล่า ได้แก่ เหล่าเสนา เหล่าสมุทร และเหล่าอากาศ ยกเว้นประเภทลูกเสือเสือสำรองไม่มีเหล่า เพราะยังเล็กอยู่ ลูกเสือแต่ละประเภทแด่ละเหล่ามีความสัมพันธ์ที่ดีต่อเนื่องกันตามหลักพัฒนา การศึกษา ซึ่งทั้งโลกต่างยอมรับว่าหลักการและวิธีการลูกเสือที่ ลอรโบเดน โพเอลล์ ผู้ให้กำเนิด กิจการลูกเสือโลกให้ไว้ สามารถพัฒนาเยาวชนของแด่ละประเทศได้ผลดียิ่ง ประเทศไทยเราก็ ยอมรับในหลักการและวิธีการนั้นด้วยตามกระบวนการลูกเสือ ล้าสถานศึกษาใด โรงเรียนใดสามาร จัดกิจกรรมลูกเสือต่อเนื่องได้ครบทุกประเภท ทุกเหล่า จะเห็นความสมบูรณ์ของการลูกเสือได้ ชัดเจน ความสัมพันธ์จะเห็นได้ง่ายขึ้นในแง่ของความเป็นครอบครัวเสมือนญาติพี่น้องที่สนิทชิด เชื้อกันที่ชุดต่อเนื่องกันดัง นพพงน์ บุญจิตราดุลย์ (2534, หน้า 117) กล่าวว่า ความสำเร็จของ หน่วยงานกับความสำเร็จพอใจของคนในหน่วยงานจะต้องมีความสัมพันธ์กันจึงจะทำให้ทั้ง หน่วยงานและบุคคลเจริญก้าวหน้า บรรลุผลสำเร็จที่ดีทั้งสองฝ่าย ความสัมพันธ์ตังที่กล่าวมานี้ สามารถที่จะแยกความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือแต่ละประเภท ตั้งแต่ลูกเสือสำรอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และลูกเสือวิสามัญได้ดังนี้

ลูกเสือสำรอง (ชั้น ป.1-4) อายุระหว่าง 8-11 ปี เสมอเหมือนน้องคนเล็กที่ลูกเสือรุ่นพี่ ต้องการให้การดูแลช่วยเหลือคือ ลูกเสือสามัญ และรุ่นพี่ที่สูงขึ้นไปด้วยความรักและอาทรแล่กัน ลูกเสือสามัญ (ชั้น ป.ร-6) อายุระหว่าง 11-16 ปี เป็นลูกเสือที่โตขึ้นอีกระดับหนื่งต่อจาก ลูกเสือสำรอง เริ่มมีความรู้สึกนึกคิดเป็นของตนเอง ต้องการให้ลูกเสือรุ่นน้องยอมรับและไต้เห็น  ความสามารถของตนโดยการให้ความช่วยเหลือลูกเสือสำรอง ในขณะเดียวกันต้องเชื่อพึงคำสั่ง คำแนะนำจากรุ่นพี่ของตนอีก คือ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และลูกเสือวิสามัญ นอกจากนี้ลูกเสือสามัญ ที่มีความรู้ความสามารถจริงอาจช่วยเหลือผู้กำกับลูกเสือสำรองและลูกเสือสำรองในต้านการจัด กิจกรรมกลางแจ้ง ช่วยสอนกิจกรรมบางอย่าง ช่วยในการสอนวิชาพิเศษอีกด้วย

ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ (ชั้น ม. 1-3)อายุระหว่าง 14-18 ปี เป็นลูกเสือพี่กำลังอยู่ในวัยรุ่น หนุ่มสาว มีความคิดเห็นของตนเอง ควบคุมความรู้สึกไต้ดี และต้องการกระทำในสิ่งพี่ท้าทาย ความสามารถของตน พร้อมพี่จะบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม ความสัมพันธ์พี่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่พี่ พึงปฏิบัติไต้ คือ ให้การแกอบรมแก่รุ่นน้อง ช่วยสอนกิจกรรมต่างๆ ทั้งต้านวชาการ และวิชาพิเศษ ต้องเคารพและเชื่อพึงคำสั่งรุ่นพี่ คือ ลูกเสือวิสามัญอีกด้วย ลูกเสือวิสามัญ (ชั้น ม. 4-6) อายุระหว่าง 16-25 ปี เป็ฯลูกเสือรุ่นพี่พี่เป็นหนุ่มสาวมีหน้าที่ให้การบริการ และให้ความช่วยเหลือรุ่นน้อง บริการชุมชน สามารถสอนรุ่นน้องๆไต้ทั้งลูกเสือสำรอง สามัญ และสามัญรุ่นใหญ่ ตลอดจนเป็น ตัวอย่างที่ดีแก่ลูกเสือน้องๆ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น