จากสภาพความเป็นจริงการจัดกิจกรรมลูกเสือ ถึงแบ้ว่ากรมวิชาการ ได้กำหนดนโยบายไว้ว่า
มีความจำเป็นที่ต้องให้ทุกคนในโรงเรียนเป็นลูกเสือทุกคน ตั้งแต่อนุบาล
จนจบการศึกษาภาคบังคับถึงอุดมศึกษา จนกว่าจะออกไปประกอบอาชีพ โดยให้ทุกโรงเรียน
จัดการเรียนการสอนลูกเสือ ยุวกาชาติ เนตรนารี โดยวิธีการลูกเสือคือ
โดยวิธีการกระทำ วางแผน การสอนวิชาลูกเสือ
โดยเน้นการเรียนการสอนให้มากขึ้นให้วางแผนการสอนลูกเสือให้มีมาตรฐาน อย่างเด่นชัด
ให้มีการติดตามผล ประเมินผลการสอนของครู การเรียนของลูกเสือในภาคปฏิบัติ
กิจกรรมให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกิจการลูกเสือแห่งชาติ เช่น
การเรียนด้วยการปฏิบัติจริง ผู้บริหารต้องสอดส่องเป็นพิเศษ
นอกจากนี้ให้กรมวิชาการจัดกิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรมที่นักเรียนทุกคน ต้องเรียน
เป็นแนวทางปฏิบัติให้กรมวิชาการเน้นให้นักเรียนทุกคนต้องเป็นลูกเสือ เพราะลูกเสือ
สร้างคนให้มีระเบียบวินัย เสียสละและบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น ให้แด่ละกรมดำเนินการสอน
ลูกเสือด้วยการปฏิบัติจริง
อย่างจริงจังแต่โดยต่วนหลักสูตรของกรมวิชาการจะต้องสอดคล้อง
และสนับสนุนส่งเสริมวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ กรมวิชาการจะต้องดำเนินการ
และ ประเมินผลหลักสูตรของลูกเสืออยู่ตลอดเวลา
เพื่อแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ แต่
กิจกรรมหาไต้บรรลุตามวัตถุประสงค์และอุดมการณ์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ
ดังเช่นจากการศึกษา ของนิกร แสนวิไล (2536, หน้า 89)
ที่ศึกษาเกี่ยวลับกิจกรรมลูกเสือสามัญในโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าครูผู้สอนไม่มีความรู้และ
ขาดทักษะการสอนกิจกรรมลูกเสือ ขาดการเตรียมการสอนล่วงหน้า ไม่ใช้อุปกรณ์การสอน และ
มีปัญหาในต้านเวลามีน้อย เนื้อหากิจกรรมที่กำหนดไว้มาก ครูสอนไม่ทัน รวมทั้งมีงานในหน้าที่
รับผิดชอบในโรงเรียนมาก
ทำให้มีผลกระทบต่อการจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างลักษณะนิสัยอันดีตาม แนวทางของลูกเสือ
ในขณะที่ สมถุทธ วุฑฒิปรีชา (2541)
ได้ศึกษาการบริหารงานกิจการลูกเสือในโรงเรียน ประถมศึกษา
สังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร พบว่า ปัญหาการสอนลูกเสือเเละขาดเเคลนอุปกรณ์ลูกเสือเเละนักเรียน ได้แก่ ขาดบุคลากร
ที่มีประสบการณ์งานงบประมาณ ครูไม่ชอบแต่งเครื่องแบบลูกเสือ ไม่มีห้องเรียน
บุคลากรขาด การ'แกฝน และวัชระ ศรีคำดัน (2541, หน้า 31 - 32)
ไต้ศึกษาการบริหารงานลูกเสือในโรงเรียน ปฏิรูปการศึกษา
สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอจุนจังหวัดพะเยา พบว่า ผู้บริหารให้ความสำคัญ
ลับงานวิชาการ อาคารสถานที่มากกว่างานทางต้านลูกเสือ
ปล่อยให้งานลูกเสือเป็นงานของครู ผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว
ขาดการนิเทศติดตามในการจัดกิจกรรมลูกเสือให้เป็นไปตามจุดประสงค์
ของลูกเสือที่ไต้กำหนดไว้ในหลักสูตร นอกจากนั้นยังทราบว่าขาดงบประมาณในการสนับสนุน
ต้านวัสดุอุปกรณ์และการพัฒนาบุคลากร ซึ่งคล้ายกับ สมบูรณ์ ยาวินัง (2542)
ที่ไต้ศึกษาบีจจัย ที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมลูกเสือสำรองในโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานการประถม ศึกษาอำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า
โรงเรียนส่วนใหญ่มอบหมายให้ครูประจำชั้นรับผิดชอบ จัดการเรียนการสอน และประสบปัญหาในการจัดทำเอกสารประจำกองลูกเสือ
ขาดแคลนวัสดุ อุปกรณ์ สถานที่ งบประมาณ ความไม่ชัดเจนของนโยบายในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรม
ลูกเสือ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น